ย้อนมองการเปลี่ยนผ่านจาก “รถม้า” สู่ “แรงม้า”ถอดบทเรียนให้รู้ว่า “อย่าเพิ่งปากดี เพราะ EV มาแน่”
ช่วง2-3ปีมานี้ตลาดรถ EV เติบโตเร็วหลายเท่าตัว การเปลี่ยนผ่านสู่ยุคของ EV ในหลายประเทศเริ่มคึกคักขึ้นอย่างเห็นได้ชัด รวมถึงไทยเองด้วย และสำหรับบางประเทศอย่างนอร์เวย์ ก็นำโด่ง เพราะรถ EV กินส่วนแบ่งตลาดรถยนต์มากถึง 82.4% มากกว่ารถสันดาปแบบดั้งเดิมแล้วแต่สำหรับประเทศที่ยังอยู่ในช่วงการเปลี่ยนผ่านอย่างไทย มักเกิดเป็นข้อโต้แย้งในสังคมที่ยังคงปะปนด้วยทั้งรถยนต์สันดาปและรถยนต์ไฟฟ้า ว่า “การเปลี่ยนผ่านสู่ EV มาเร็วไปหรือไม่” หรือแม้แต่ “EV จะกลายเป็น New Normal หรือสุดท้ายจะกลายเป็นแค่ Trend” ในบทความนี้ Connect the Dots…
ผ่ากระแสวีแกน – แพลนต์-เบสด์ จุดเริ่มต้นมาจากไหน? ตกลงควรกินไหม? กินแล้วทั้งเราและโลกได้ประโยชน์อะไร?
#Business of Science : เปลี่ยนงานวิจัยจากขึ้นหิ้งมาขึ้นห้าง ทุก ๆ ปีประเทศไทย (และประเทศในเอเชียหลาย ๆ ที่) จะมีเทศการ “กินเจ” หรือการงดเว้นการกินเนื้อสัตว์เป็นเวลาประมาณหนึ่งเดือน นัยว่าคนเรากินเนื้อสัตว์ต่าง ๆ มาทั้งปีแล้ว เราก็มากินผัก หญ้า เต้าหู้ที่ทำจากถั่ว หรืออาหารอื่นที่ทำให้มีรสชาติและสัมผัสเหมือนเนื้อสัตว์แทน จะได้ลดการเบียดเบียนสัตว์ต่าง ๆ หลายคนคงสงสัยว่าต้นกำเนิดการกินอาหารที่ไม่มีเนื้อสัตว์นั้นมีที่มาแบบไหนกันแน่ แล้ววิวัฒนาการของรูปแบบการกินต่าง ๆ ทั้งที่เรียกว่ามังสวิรัติ วีแกน เจ หรือแม้แต่สิ่งที่เรียกว่า “เนื้อ/โปรตีนแพลนต์-เบสด์”…
January Effect ทฤษฏีตลาดหุ้นขาขึ้นในเดือนมกราคมจริงหรือมั่ว?
เข้าสู่เดือนแรกของปีใหม่อย่างเดือนมกราคมแบบนี้ หลายคนคงคาดหวังไว้ให้อะไรดี ๆ เกิดขึ้นแน่นอน รวมถึงเหล่านักลงทุนหลายคนที่เชื่อใน “January Effect” หรือทฤษฎีที่ว่าตลาดหุ้นจะปรับตัวขึ้นในทุกเดือนมกราคม
เจ้าสัวเจริญ สิริวัฒนภักดี ผู้ปลุกปั้นเบียร์ช้าง
ในบรรดาธุรกิจยักษ์ของไทย ส่วนใหญ่แล้วก็เป็นกลุ่มธุรกิจค้าปลีกอาหารและเครื่องดื่ม ซึ่งแน่นอนว่าเจ้าหนึ่งที่เราพบเห็นสินค้าของเขาอยู่เสมอ คือ “ไทยเบฟเวอเรจ จำกัด (มหาชน)” หรือ “ไทยเบฟ” ของ “เจ้าสัวเจริญ สิริวัฒนภัคดี”
วานิช ไชยวรรณ ผู้ปลุกปั้น “ไทยประกันชีวิต”
ประกันไทย 5 แสนล้าน ที่ดูแลคนไทยมานานกว่า 80 ปี การใช้ชีวิตในโลกปัจจุบันมันไม่ง่ายเลย และในทุก ๆ วันยังต้องเผชิญกับความเสี่ยงมากมาย โดยเฉาพาะยุคหลังการแพร่ระบาดของโควิด-19 แต่นั่นคือสิ่งที่ย้ำให้หลายคนได้เห็นถึงความสำคัญของ “ประกันชีวิต”
ถ้าคุณมี New Year Resolution เป็นการเก็บเงินลองทำตาม 10 วิธีออมเงินพิชิตเป้าหมายใน 1 ปี จาก Make ดูสิ!
หลังจากที่เราได้บอกลาปี 2023 กันไปแล้ว ในช่วงนี้หลายคนก็คงได้ตั้งปนิธานเพื่อการเริ่มต้นปีใหม่อย่างมีเป้าหมายสู่สิ่งดี ๆ ในปีนี้กันแล้ว และหนึ่งในปณิธานปีใหม่ยอดนิยมคือ “การเก็บเงิน” ไม่ว่าจะเพื่อไว้ซื้อของ ดาวน์รถ ดาวน์บ้าน หรือเพื่อความมั่งคั่ง ก็นับว่าเป็นเป้าหมายที่ท้าทายใช่เล่น เพราะใช้เงินน่ะ มันง่ายกว่าหาหรือเก็บเยอะ เพราะฉะนั้นวันนี้ Connect the Dots จึงอยากจะมาแบ่งปันวิธีการเก็บเงินให้ได้ตามเป้าใน 1 ปี ด้วยเคล็ดไม่ลับดี ๆ จาก Make by Kbank
“ความก้าวหน้าทางการศึกษายิ่งสูง อัตราการเกิดยิ่งต่ำ” แต่ประสิทธิภาพไม่ได้ชี้วัดเสมอไป
ณ ทศวรรษ 2020 โลกที่พ้นโควิดไปก็ยังพบ "ความท้าทายทางนโยบาย" อีกมากมายของภาครัฐ แน่นอนเรื่องหนึ่งที่ถูกมองว่าเป็นเรื่องใหญ่ก็คือเรื่องโลกร้อนทั้งหลาย แต่จริงๆ นั่นก็เป็นปัญหาที่เกิดจากการกดดันจากนานาชาติเป็นหลัก แต่ "ปัญหา" ที่เกิดในชาติส่วนใหญ่ในโลกที่แย่ลงทุกวันคือปัญหาสังคมผู้สูงอายุ สังคมผู้สูงอายุเกิดขึ้นจากเหตุผลสองอย่าง อย่างแรกคือคนอายุยืนขึ้น อย่างที่สองคือเด็กเกิดน้อยลง แก้ได้อย่างใดอย่างหนึ่ง สังคมผู้สูงอายุจบลง แน่นอน ไม่มีชาติไหนบ้าพอที่จะจงใจพยายามทำให้คนอายุสั้นลง ดังนั้นเค้าเลยมองว่ามันมีวิธีเดียวคือทำให้เด็กเกิดมากขึ้น และจริงๆ เราก็คงเคยได้ยินข่าวนโยบายลดแลกแจกแถมสวัสดิการต่างๆ เพื่อเป็น "รางวัล" ให้กับผู้หญิงที่มีลูกในหลายๆ ประเทศ คำถามคือมันได้ผลมั้ย? คำตอบเร็วๆ คือไม่ได้ผลเลย และชาติหนึ่งที่เทเงินอย่างมหาศาลในการ…
‘ปราเสริฐ ปราสาททองโอสถ’ หมอนักธุรกิจติดปีก
ผู้ให้กำเนิด “BDMS” เครือโรงพยาบาลเอกชนที่ใหญ่ที่สุดในไทย และ “Bangkok Airways” สายการบินเอกชนแห่งแรกของไทย
เพชร โอสถานุเคราะห์
เชื่อว่าหลายคนน่าจะคุ้นหูกับท่อนเพลงสุดอมตะนี้จากเพลง ‘เพียงชายคนนี้ (ไม่ใช่ผู้วิเศษ)’ ที่ไม่ว่าจะผ่านไปกี่ปีก็ยังเป็นเพลงแห่งความทรงจำของใครหลายคนอยู่
การตลาดและสงคราม ทำให้ผู้หญิงเริ่มโกนขนรักแร้และหน้าแข้งได้อย่างไร?
โดยทั่วไปแล้วในโลกนี้ มนุษย์ไม่ได้รังเกียจขน ขนจึงเป็นเรื่องธรรมชาติของคนทั่วไป และคนที่มีหน้าที่จะต้องกำจัดขนนั้นคือคนที่มีสถานะพิเศษ เช่นในโรมันโบราณการ "ไร้ขน" เป็นเรื่องของชนชั้นสูงที่ผิวพรรณต้องเกลี้ยงเกลา หรือในวัฒนธรรมพุทธหรือคริสเตียนยุคกลาง การ "โกนหัว" ไม่ว่าจะทั้งหมดหรือบางส่วนมันก็เป็นเรื่องของนักบวช ไ่ม่ใช่คนปกติ หรือเต็มที่เลยในวัฒนธรรมโบราณการ "กำจัดขน" ก็เป็นเรื่องของพิธีกรรมพิเศษ (เช่นการแต่งงาน) เท่านั้น ไม่ใช่เรื่องในชีวิตประจำวัน หรือพูดง่ายๆ ตลอดประวัติศาสตร์ในภาพรวม มนุษย์ไม่ได้มีปัญหากับขน ไม่ได้มองว่ามันเป็นสิ่งที่ต้องกำจัด และจริงๆ การกำจัดมันก็ไม่ได้ง่ายด้วย มันหมายถึงการใช้ของมีคมกับร่างกายและต้องมาลับเรื่อยๆ และนี่คือเหตุผลที่ผู้ชายในอดีตมักจะหนวดเพิ้มทั้งนั้น มันไม่ได้โกนกันง่ายๆ การปฏิวัติการโกนหนวดของผู้ชายเกิดขึ้นในต้นศตวรรษที่ 20 เมื่อบริษัท…