Opinion

Festive Season เมื่อวันสำคัญทางศาสนากลายมาเป็นเทศกาลขายสินค้ายาวเป็นเดือนได้อย่างไร?

6 Degrees of Separation ในช่วงปลายปีของทุกปี ชาวไทยอาจรู้สึกลุ้นว่าปีนี้อากาศหนาวมั้ย แต่สำหรับคนในโลกตะวันตก ช่วงนี้คือ Festive Season

By [email protected] 2 Min Read

3 วิธีตั้งเป้าหมาย New Year Resolutions ที่ใช่ให้สำเร็จง่าย ๆ ด้วยหลักจิตวิทยา

ในช่วงส่งท้ายปีเก่าต้อนรับปีใหม่ นอกจากการแลกของขวัญและการเฉลิมฉลอง สิ่งที่นิยมทำกันทั่วโลกเลยคือ “การตั้งปนิธานปีใหม่” หรือ “New Year Resolutions” เพื่อการเปลี่ยนแปลง หรือทำสิ่งใหม่

By [email protected] 1 Min Read

จากแผงลอยถึงถ้วยและกล่อง ความสร้างสรรค์ไม่รู้จบของราเมงญี่ปุ่น

#CreativeEcono.ME เพราะเศรษฐกิจ สร้าง “ฉัน” “ราเมง” เป็นอาหารญี่ปุ่นที่คนทั่วโลกรู้จักกันแพร่หลายไม่แพ้ซูชิหรือเทมปุระ ทั้งที่วัฒนธรรมบะหมี่แป้งสาลีนั้นถูกนำเข้าจากจีนไปแพร่หลายในญี่ปุ่นเพียงแค่ร้อยปีเศษๆ เท่านั้น ต้นรากของวัฒนธรรมราเมงญี่ปุ่นเท่าที่สืบค้น อาจจะเริ่มจากพระภิกษุชาวจีนที่เดินทางมาขึ้นท่าเรือที่เมืองโยโกฮาม่า

By [email protected] 0 Min Read

ข้อคิดธุรกิจ จาก ‘Wonka’เรื่องราวของชายผู้ให้กำเนิดโรงงานช็อกโกแลตมหัศจรรย์

‘Wonka’ คือ หนึ่งในขบวนภาพยนตร์ที่เรียงรายเข้าฉายในช่วงก่อนเทศกาลคริสต์มาสและสิ้นปี ซึ่งหลายคนเฝ้ารอชมลีลาการแสดงของ ‘ทิโมธี ชาลาเมต์ (Timothée Chalamet)’ ในบทบาทของ ‘วิลลี่

By [email protected] 1 Min Read

เม็ดเงินในงบประมาณ Soft Power – เขาใช้กันเท่าไร

เมื่อเปิดงบประมาณส่งเสริม Soft Power ของรัฐบาลเศรษฐามาที่ 5164 ล้านบาท ก็มีเสียงวิพากษ์วิจารณ์หลากหลาย ว่าจะเป็นงบอีเวนท์ ตำน้ำพริกละลายแม่น้ำ งบส่วนนี้มากเกินไป

By [email protected] 1 Min Read

ปลายปีไม่ได้ขี้เกียจ คิดว่าเดือนธันวาคือเดือนที่คนขี้เกียจที่สุดใช่มั้ย? ยินดีด้วย คุณคิดผิด!!

#6 Degrees of Separation - เพราะความเป็นไปได้เชื่อมหากันไม่เกินหกทอด ในชีวิตการทำงาน ความขยันนั้นก็ขึ้นลงไปตามสภาพอากาศและเทศกาลวันหยุด ซึ่งถ้าคิดแบบนี้ เดือนธันวาคม

By [email protected] 1 Min Read

“เศรษฐศาสตร์ผีน้อย” เมื่อโอกาสอยู่นอกประเทศ: ผลผลิตจากความเหลื่อมล้ำ และตลาดมืด

#PopPolicy อธิบายPolicy ด้วยมุมป๊อป หนึ่งในปัญหาที่ถูกหยิบยกมาพูดเป็นระยะในสังคมไทยคือเรื่อง “ผีน้อย” หรือคนไทยที่ลักลอบไปทำงานในเกาหลีใต้อย่างผิดกฎหมาย ซึ่งกระแสสังคมไทยต่อผีน้อยมักจะออกไปในเชิงลบ เนื่องจากการมีอยู่ของผีน้อย ทำให้คนไทยหลายคนที่อยากเข้าประเทศอย่างถูกกฎหมายต้องถูกปฏิเสธ ในบทความนี้ผู้เขียนจะไม่เน้นการถกเถียงว่าการมีอยู่ของผีน้อยส่งผลดีหรือเสียต่อเศรษฐกิจไทยและเกาหลีอย่างไรบ้าง แต่ผู้เขียนจะพยายามใช้หลักเศรษฐศาสตร์เพื่ออธิบายการมีอยู่ของผีน้อยครับ

By [email protected] 1 Min Read

สถานบริการเปิดยาวถึงตี 4 วิเคราะห์ประโยชน์นโยบาย จะกระตุ้นท่องเที่ยว-กระจายรายได้อย่างไร?

ในช่วงที่ผ่านมานโยบายจากรัฐบาลใหม่เรียกได้ว่าเป็นที่ถกเถียงกันอยู่ตลอด นอกจากเงินดิจิทัล 10,000 บาทที่ยังงง ๆ ว่าบิดไม่บิดกันอยู่แล้ว ยังมีเรื่องของนโยบายขยายเวลาเปิดให้บริการสถานบันเทิงจากตี 2 ถึงตี 4

By [email protected] 2 Min Read

“ตลาดแรงงานสูงวัย” เมื่อคนแก่เยอะ คนทำงานน้อย ญี่ปุ่นเขาทำยังไง?

#Money In The Air เพราะเงินลอยอยู่ใน “โอกาส” “ยุคนี้คือยุคชีวิตยืนยาว 100 ปี”คำพูดนี้เป็นคำพูดที่ได้ยินบ่อยๆ ในสังคมญี่ปุ่นยุคปัจจุบัน เพราะคงทราบกันดีว่า

By [email protected] 2 Min Read
- Advertisement -
Ad imageAd image