วานิช ไชยวรรณ ผู้ปลุกปั้น “ไทยประกันชีวิต” ประกันไทย 5 แสนล้าน ที่ดูแลคนไทยมานานกว่า 80 ปี
การใช้ชีวิตในโลกปัจจุบันมันไม่ง่ายเลย และในทุก ๆ วันยังต้องเผชิญกับความเสี่ยงมากมาย โดยเฉาพาะยุคหลังการแพร่ระบาดของโควิด-19 แต่นั่นคือสิ่งที่ย้ำให้หลายคนได้เห็นถึงความสำคัญของ “ประกันชีวิต”
สำรวจ 3 ปัจจัยผลักดันตลาดผลิตภัณฑ์เสริมอาหารไทยให้มีมูลค่ากว่า 7 หมื่นล้านบาท
ถ้าเจอหาที่พัก แล้วพบว่า ห้องนึง ราคาถูกกว่าห้องอื่นๆ ในคอนโดเดียวกัน แล้วสนใจจะเลือกซื้อไหมครับ? หรือไม่ไว้ใจเพราะราคาผิดปกติ?
เจ้าสัวเจริญ สิริวัฒนภักดี ผู้ปลุกปั้นเบียร์ช้าง สร้าง Thaibev เป็นบริษัทมูลค่าหลักแสนล้านในตลาดหุ้นสิงคโปร์
ในบรรดาธุรกิจยักษ์ของไทย ส่วนใหญ่แล้วก็เป็นกลุ่มธุรกิจค้าปลีกอาหารและเครื่องดื่ม ซึ่งแน่นอนว่าเจ้าหนึ่งที่เราพบเห็นสินค้าของเขาอยู่เสมอ คือ “ไทยเบฟเวอเรจ จำกัด (มหาชน)” หรือ “ไทยเบฟ” ของ “เจ้าสัวเจริญ สิริวัฒนภัคดี” การเป็นเจ้าของอาณาจักรเครือธุรกิจยักษ์ของไทย ทำให้เจ้าสัวเจริญติดอันดับ 3 มหาเศรษฐีที่ร่ำรวยที่สุดในไทย ด้วยทรัพย์สินกว่า 4.73 แสนล้านบาท จากการจัดอันดับของ Forbes ประเทศไทย ปี 2566
‘ปราเสริฐ ปราสาททองโอสถ’ หมอนักธุรกิจติดปีก ผู้ให้กำเนิด “BDMS” เครือโรงพยาบาลเอกชนที่ใหญ่ที่สุดในไทย และ “Bangkok Airways” สายการบินเอกชนแห่งแรกของไทย
ในบรรดาเหล่ามหาเศรษฐีของไทย แต่ละคนล้วนเป็นเจ้าของเครือธุรกิจใหญ่ที่ส่งผลต่อคนทั้งประเทศ ไม่ว่าจะเป็น พลังงาน หรือค้าปลีกต่าง ๆ แต่คนที่มีประเภทธุรกิจที่โดดเด่นและแตกต่างคือ ‘นายแพทย์ปราเสริฐ ปราสาททองโอสถ’
ปลายปีไม่ได้ขี้เกียจ คิดว่าเดือนธันวาคือเดือนที่คนขี้เกียจที่สุดใช่มั้ย? ยินดีด้วย คุณคิดผิด!!
#6 Degrees of Separation - เพราะความเป็นไปได้เชื่อมหากันไม่เกินหกทอด ในชีวิตการทำงาน ความขยันนั้นก็ขึ้นลงไปตามสภาพอากาศและเทศกาลวันหยุด ซึ่งถ้าคิดแบบนี้ เดือนธันวาคม ก็น่าจะเป็นเดือนที่คนขี้เกียจที่สุด เพราะเดือนนี้นอกจากอากาศจะ "เย็น" ไปจนถึง "หนาว" แล้วมันยันเต็มไปด้วย "วันหยุด" อีก แน่นอนทุกคนคนตื่นเต้นกับหยุดยาวปีใหม่ แต่ถ้าเป็นสังคมคริสต์ก็จะมีวันคริสต์มาสต์อีก วันหยุดเยอะ อากาศหนาว น่าจะเป็นสูตรสำเร็จแห่งความขี้เกียจ ดังนั้นธันวาคมก็ต้องขี้เกียจสุดแน่ๆ ..แต่พวกสถิติและผลสำรวจกลับไม่ชี้แบบนั้นคือธันวาไม่ใช่เดือนที่คนจะ "ขยัน" แน่ๆ แต่มันก็ไม่ใช่เดือนที่คนจะ "ขี้เกียจที่สุด" เช่นกัน…
ลงทุนหุ้นนอก ต้องรู้จัก OPTIONS
ก่อนอื่นผมต้องการให้ทุกท่านที่อ่านบทความนี้ ได้ทำความรู้จักกับ OPTIONS ให้ถูกต้องเสียก่อน เพราะมีนักลงทุนจำนวนมากที่ยังไม่รู้จัก OPTIONS หรืออาจจะเข้าใจผิดเกี่ยวกับ OPTIONS โดยผมจะขออธิบายในมุมมองการเปรียบเทียบที่เข้าใจง่าย และ ได้เห็นถึงประโยชน์ในการนำ OPTIONS ไปใช้งานจริง
‘สารัชถ์ รัตนาวะดี’ มหาเศรษฐีหุ้นแสนล้าน เจ้าของอาณาจักร Gulf ที่รวบหมดทั้งพลังงาน โครงสร้างพื้นฐาน และ ดิจิทัล
ธุรกิจที่มาแรงในปัจจุบัน นอกจากสายเทคโนโลยีดิจิทัลแล้ว ธุรกิจพลังงานนับว่าน่าจับตามากทีเดียว เพราะโลกเรากำลังเผชิญกับวิกฤติเรื่องคาร์บอน (CO2) อย่างหนัก ซึ่งสัมพันธ์กับด้านพลังงานโดยตรง และอยู่ในช่วงของการเปลี่ยนผ่านสู่พลังงานหมุนเวียน หรือพลังงานสะอาด ทำธุรกิจพลังงานมีบทบาทสำคัญอย่างมาก รวมถึง ‘Gulf Energy’ ผู้ผลิตพลังงานที่ใหญ่ที่สุดในประเทศไทย ในมือของ ‘สารัชถ์ รัตนาวะดี’
Naked Short เมื่อรายย่อยเจอตลาดแบบนี้จะจัดการอย่างไร
ในสภาวะตลาดปัจจุบันที่มีความผันผวน ซ้ำร้ายยังเจอแรงขายจากทั้ง Short Sell รวมไปถึงร้ายแรงยิ่งกว่าคือ Naked Short ซึ่งก่อนอื่นเลยต้องบอกว่า ตลาดหลักทรัพย์ออกมายืนยันอย่างเป็นทางการแล้วว่าไม่พบเจอธุรกรรม Naked Short ในตลาดไทย และให้ความเชื่อมั่นว่าจะกำกับดูแลอย่างเข้มงวด ดังนั้นในส่วนของการกำกับดูแลก็ให้เป็นหน้าที่ของ ตลท.และ ก.ล.ต. ต่อไปแต่รายย่อยอย่างเราก็ต้องอยู่ให้ได้
“เศรษฐศาสตร์ผีน้อย” เมื่อโอกาสอยู่นอกประเทศ: ผลผลิตจากความเหลื่อมล้ำ และตลาดมืด
#PopPolicy อธิบายPolicy ด้วยมุมป๊อป หนึ่งในปัญหาที่ถูกหยิบยกมาพูดเป็นระยะในสังคมไทยคือเรื่อง “ผีน้อย” หรือคนไทยที่ลักลอบไปทำงานในเกาหลีใต้อย่างผิดกฎหมาย ซึ่งกระแสสังคมไทยต่อผีน้อยมักจะออกไปในเชิงลบ เนื่องจากการมีอยู่ของผีน้อย ทำให้คนไทยหลายคนที่อยากเข้าประเทศอย่างถูกกฎหมายต้องถูกปฏิเสธ ในบทความนี้ผู้เขียนจะไม่เน้นการถกเถียงว่าการมีอยู่ของผีน้อยส่งผลดีหรือเสียต่อเศรษฐกิจไทยและเกาหลีอย่างไรบ้าง แต่ผู้เขียนจะพยายามใช้หลักเศรษฐศาสตร์เพื่ออธิบายการมีอยู่ของผีน้อยครับ โอกาสน้อยนิด สู่ชีวิตต่างแดน ถ้าพูดถึงผู้อพยพ (migrants) ซึ่งละทิ้งบ้านเกิดเพื่อไปใช้ชีวิตในต่างแดน ก็จะมี 2 ประเภทหลัก ได้แก่ ผู้ลี้ภัย (Refugees) ซึ่งเลือกอพยพหนีภัยความสงครามและความวุ่นวายในบ้านเกิด และอีกประเภทก็คือผู้ย้ายถิ่นทางเศรษฐกิจ (Economic Migrants) ซึ่งเลือกออกจากประเทศบ้านเกิดเพื่อไปหางานและโอกาสเศรษฐกิจที่ดีกว่าในประเทศที่รวยกว่านั่นเอง ซึ่งผีน้อย ซึ่งส่วนใหญ่มักไปเป็นแรงงานทักษะต่ำในเกาหลีก็ถือเป็น economic migrants…
Kodak จากฟิล์มกล้องแห่งความหลัง สู่ฟิล์มหนังเจ้าหลักของ Hollywood
ในวงการถ่ายภาพ การถ่ายภาพด้วย “กล้องฟิล์ม” นับว่าเป็นเสน่ห์สุดคลาสสิกอย่างหนึ่งในปัจจุบัน แต่ครั้งหนึ่งในวันวานอย่างยุค 90s คือช่วงเวลาที่กล้องฟิล์มอนาล็อกได้รับความนิยมสูงมาก ก่อนที่ช่วงเวลานั้นจะพ้นผ่านไปอย่างรวดเร็วในการเปลี่ยนผ่านสู่ “กล้องดิจิทัล” ในช่วงต้นปี 2000s และนั่นก็นำไปสู่การล่มสลายของยักษ์ใหญ่วงการกล้องฟิล์มอย่าง ‘Kodak’ และการเกิดใหม่อีกครั้งสู่ผู้ผลิตฟิล์มหนัง IMAX ที่หนังฟอร์มยักษ์อย่าง ‘Oppenhimer’ เลือกใช้