Festive Season เมื่อวันสำคัญทางศาสนากลายมาเป็นเทศกาลขายสินค้ายาวเป็นเดือนได้อย่างไร?
6 Degrees of Separation ในช่วงปลายปีของทุกปี ชาวไทยอาจรู้สึกลุ้นว่าปีนี้อากาศหนาวมั้ย แต่สำหรับคนในโลกตะวันตก ช่วงนี้คือ Festive Season ซึงจริงๆ มันก็เป็นช่วงที่ภาคธุรกิจคึกคักมาก เพราะนี่คือช่วงที่สินค้าขายดีที่สุดของปี บางคนจะมองว่า Festive Season มันก็คือช่วงคริสต์มาสต์ยาวไปจนวันปีใหม่ ซึ่งรวมๆ กันเพราะมันวันใกล้ๆ กัน จริงๆ ในแต่ละประเทศ ช่วงแห่งการเฉลิมฉลองนี้กินเวลาต่างกัน โดยชาติที่ฉลองนานที่สุดน่าจะเป็นสหรัฐอเมริกา ซึ่งก็คือฉลองกันยาวตั้งแต่ปลายพฤศจิกายน ไปจนถึงต้นมกราคมของอีกปี แล้วมันเป็นแบบนี้ได้ไง? ทำไมฉลองกันยาวเฟื้อย คำตอบสั้นๆ คือมันเป็นการรวมวันหยุดและวันเทศกาลของต่างวัฒนธรรมมาผูกกันเข้าไว้…
Real World Asset ธีมการลงทุนใหม่ของโลกคริปโต 2024 ธีมใหม่ของการเงินดิจิทัล ที่นำสินทรัพย์ในโลกการเงินดั้งเดิมเข้าสู่บล็อกเชน
ทุกๆครั้งของวัฐจักรขาขึ้นในโลกคริปโตจะมาพร้อมกับธีมการลงทุนหรือ Narrative ใหม่เสมอ ตลาดขาขึ้นรอบที่แล้วเราจะได้ยินชื่อของ DeFi, GameFi และ Metaverse แต่ปีหน้าซึ่งคาดว่าจะเป็นจุดเริ่มต้นของขาขึ้นรอบใหม่อาจจะเป็นธีมของ Real World Asset หรือสินทรัพย์ในโลกการเงินดั้งเดิมที่จะเข้ามาสู่บล็อกเชน
รายได้ของ Spotify นั้นถูกเอาไปจ่าย “ค่าลิขสิทธิ์” ไป 1,400,000,000,000 บาทในปี 2022 …แต่มัน “โดนหักค่าหัวคิว” จนเงินไปไม่ค่อยถึงมือนักดนตรี
ถ้าใครติดตามพวกนักดนตรีต่างประเทศทุกวันนี้ถ้าเป็นรุ่นใหญ่ๆ หลายๆ คนก็จะบ่นถึงวันคืนอันแสนหวานในอดีตที่แค่ออกอัลบั้มฮิตระดับคลาสสิคมาก็สามารถ "กินค่าลิขสิทธิ์" ไปได้ยาวๆ แบบไม่ต้องทำมาหากิน อย่างไรก็ดี ถ้าตามที่พวกนี้เล่า วันคืนดีๆ พวกนี้ก็จบลงกับยุคอินเทอร์เน็ต กับ Napster กับ BitTorrent ที่ทำให้คนทั้งโลก "เลิกซื้อเทปและซีดี" และทำให้พวกนักดนตรีรุ่นเก่าๆ ที่เคยนอนเฉยๆ กินค่าลิขสิทธิ์ ต้องยอมกลับมาคืนดีกับสมาชิกวงเก่าที่แทบไม่มองหน้ากันแล้ว และ "ออกทัวร์" เพื่อหารายได้มาทดแทน "ค่าลิขสิทธิ์" ที่หายไปจากยอดขายเทปและซีดีที่ป่นปี้ในยุคอินเทอร์เน็ต
3 วิธีตั้งเป้าหมาย New Year Resolutions ที่ใช่ให้สำเร็จง่าย ๆ ด้วยหลักจิตวิทยา
ในช่วงส่งท้ายปีเก่าต้อนรับปีใหม่ นอกจากการแลกของขวัญและการเฉลิมฉลอง สิ่งที่นิยมทำกันทั่วโลกเลยคือ “การตั้งปนิธานปีใหม่” หรือ “New Year Resolutions” เพื่อการเปลี่ยนแปลง หรือทำสิ่งใหม่ ๆ ด้วยความตั้งใจเต็มเปี่ยม แต่สุดท้ายเมื่อผ่านพ้นไปจนหมดปีกลับมีแค่คนส่วนน้อยที่ทำได้สำเร็จ และส่วนใหญ่มักหลงลืมหรือล้มเลิกไปตั้งแต่ยังไม่พ้นครึ่งปีด้วยซ้ำ อย่างในสังคมอเมริกัน 45% บอกว่าพวกเขาตั้งปนิธานปีใหม่อยู่เสมอ แต่มีเพียงแค่ 8% เท่านั้นที่ทำได้สำเร็จ วันนี้ Connect the Dots จึงอยากขอนำเสนอวิธีการตั้งปนิธานปีใหม่ที่ดีให้คุณสำเร็จได้ ด้วยหลักจิตวิทยา “ปนิธานที่ใช่ ทำง่ายกว่าเยอะ”ว่าด้วยเรื่องของการตั้งปนิธานปีใหม่ หลายคนมักใช้โอกาสนี้ตั้งเป้าหมายในการเปลี่ยนแปลงตัวเองไปโดยสิ้นเชิง ซึ่งหลายครั้งก็เกินตัวไปมาก…
จากแผงลอยถึงถ้วยและกล่อง ความสร้างสรรค์ไม่รู้จบของราเมงญี่ปุ่น
#CreativeEcono.ME เพราะเศรษฐกิจ สร้าง “ฉัน” “ราเมง” เป็นอาหารญี่ปุ่นที่คนทั่วโลกรู้จักกันแพร่หลายไม่แพ้ซูชิหรือเทมปุระ ทั้งที่วัฒนธรรมบะหมี่แป้งสาลีนั้นถูกนำเข้าจากจีนไปแพร่หลายในญี่ปุ่นเพียงแค่ร้อยปีเศษๆ เท่านั้น ต้นรากของวัฒนธรรมราเมงญี่ปุ่นเท่าที่สืบค้น อาจจะเริ่มจากพระภิกษุชาวจีนที่เดินทางมาขึ้นท่าเรือที่เมืองโยโกฮาม่า แล้วแนะนำให้ลูกศิษย์ทำอาหารเส้นจากแป้งสาลีและน้ำแทนที่จะเป็นโซบะที่ทำจากเมล็ดโซบะ หรืออุด้งที่ทำจากแป้งสาลีกับน้ำเกลือ คนญี่ปุ่นขณะนั้นจึงเรียกว่า โซบะจีน (中華そば) ก่อนจะเปลี่ยนมาเรียกว่า ราเมง ラーメン ซึ่งเป็นคำอ่านแบบญี่ปุ่นของคำว่า ลาเมี่ยน 拉麺 หรือบะหมี่ดึงในภาษาจีน และเกิดร้านราเมงแห่งแรกในโตเกียว คือร้านไรไรเคน ในย่านอาซาคุสะราวปี 1910 ในช่วงร้อยปีที่ผ่านมา ราเมงได้เปลี่ยนจากบะหมี่แบบจีน กลายเป็นวัฒนธรรมอาหารของญี่ปุ่นเต็มตัว มีการพัฒนาสูตร…
ลงทุนอย่างไรในสภาวะที่ตลาดผันผวน 4 กลุ่มหุ้นที่มีความปลอดภัย ในวันที่ตลาดไม่แน่นอน
ในสภาวะที่ตลาดมีความผันผวนและความไม่แน่นอนสูง นักลงทุนหลายๆคนคงถอยออกจากตลาดหุ้นไปบางส่วน เพราะตลาดหุ้นไม่ได้น่าสนใจและให้ผลตอบแทนดีเหมือนในตลาดขาขึ้นแบบที่ผ่านๆมา แต่สิ่งที่หลายๆคนพลาดไปก็คือเมื่อตลาดหุ้นปรับตัวลงมานั้น หุ้นหลายๆตัวที่มีผลประกอบการที่ดี มีธุรกิจที่แข็งแกร่ง รวมถึงมีโอกาสเติบโตในอนาคตก็ถูกขายลงมา ตามสภาวะตลาดที่ไม่สดใสตามไปด้วย
ความเสี่ยงของตลาดคริปโตที่อาจเกิดขึ้นในปีหน้าการควบคุมจากภาครัฐ และภาวะเศรษฐกิจถดถอย
แม้ว่าตลาดคริปโตในปี 2024 ดูจะมีข่าวดีสนับสนุนไม่น้อย นับตั้งแต่การอนุมัติ Bitcoin ETF นโยบายการเงินที่เตรียมเข้าสู่ภาวะผ่อนคลายมากขึ้นรวมถึงการเกิด Bitcoin Halving อย่างไรก็ตามแม้จะมีปัจจัยบวก แต่ยังมีปัจจัยเสี่ยงที่รออยู่เช่นกันที่ทำให้นักลงทุนไม่ควรจะมั่นใจมากเกินไป
ข้อคิดธุรกิจ จาก ‘Wonka’เรื่องราวของชายผู้ให้กำเนิดโรงงานช็อกโกแลตมหัศจรรย์
‘Wonka’ คือ หนึ่งในขบวนภาพยนตร์ที่เรียงรายเข้าฉายในช่วงก่อนเทศกาลคริสต์มาสและสิ้นปี ซึ่งหลายคนเฝ้ารอชมลีลาการแสดงของ ‘ทิโมธี ชาลาเมต์ (Timothée Chalamet)’ ในบทบาทของ ‘วิลลี่ วองก้า (Willy Wonka)’ กับเรื่องราวต้นกำเนิดของเขาที่ไม่เคยถูกเล่าที่ไหนมาก่อนนอกจากเรื่องราวชีวิตวัยหนุ่ม และหลากหลายปัจจัยที่ทำให้ วิลลี่ วองก้า เป็นตัวละครทรงเสน่ห์แห่งโลกภาพยนตร์แล้ว ในฐานะที่เขาเป็นเจ้าของโรงงานช็อกโกแลตที่โด่งดังที่สุดในโลก(ภาพยนตร์) เรื่องราวอีกมุมที่น่าสนใจไม่แพ้กันคือ ธุรกิจช็อกโกแลตของเขา วันนี้ Connect the Dots จึงขออาสาพาไปสำรวจมุมนี้ของเรื่องราว ผ่านข้อคิดธุรกิจจากภาพยนตร์เรื่อง Wonka ต้นทุนสำคัญ แต่ไม่ใช่แค่เงินเท่านั้นที่เป็น…
เจ้าสัวธนินท์ เจียรวนนท์ มหาเศรษฐีอันดับ 1 ของไทย ผู้เติบโตจากปุ๋ยและเมล็ดพันธุ์ ต่อยอดสู่เครือธุรกิจยักษ์ที่ครองตลาดค้าปลีกไทย
“CP” กลายเป็นคำคุ้นหูที่คนไทยทั้งประเทศตั้งรู้จัก ในฐานะธุรกิจยักษ์ใหญ่ของไทย เจ้าของ 7-11 ในไทย รวมถึง Makro และ Lotus ที่เติบโตขึ้นมาได้ด้วยการนำของมหาเศรษฐีอันดับหนึ่งของไทย “ธนินท์ เจียรวนนท์” หรือที่รู้จักกันในชื่อ “เจ้าสัวธนินท์” เจ้าสัวธนินท์ คือคนสำคัญที่ทำให้ CP หรือ ธุรกิจเครือ “เจริญโภคภัณฑ์” เติบโตได้ยิ่งใหญ่อย่างในทุกวันนี้ แม้มองดูที่ความสำเร็จแล้วจะเหมือนว่าเขาเป็นลูกเจ้าของธุรกิจ นักเรียนจบนอกที่ได้รับโอกาสดีเหมือนนักธุรกิจทั่วไป แต่ความเป็นจริงเขาต้องใช้ทั้งความพยายามและความสามารถ รวมถึงทุ่มทุนมหาศาลกว่าจะสร้างธุรกิจที่แทบจะครองตลาดทั้งประเทศเหมือนทุกวันนี้ จริง ๆ แล้ว CP…
เม็ดเงินในงบประมาณ Soft Power – เขาใช้กันเท่าไร
เมื่อเปิดงบประมาณส่งเสริม Soft Power ของรัฐบาลเศรษฐามาที่ 5164 ล้านบาท ก็มีเสียงวิพากษ์วิจารณ์หลากหลาย ว่าจะเป็นงบอีเวนท์ ตำน้ำพริกละลายแม่น้ำ งบส่วนนี้มากเกินไป งบส่วนนั้นน้อยเกินไป ซึ่งการทำงานยังต้องได้รับการพิสูจน์อีกในระยะยาว ว่าเงินที่ตั้งไว้จะถูกใช้อย่างคุ้มค่าได้มากแค่ไหนเราอาจลองมาดูตัวอย่างจากสองประเทศที่ใช้งบประมาณส่งเสริมการส่งออกวัฒนธรรมกันประเทศที่เป็นต้นแบบและถูกพูดถึงเสมอในการส่งเสริมการส่งออกวัฒนธรรม คือสาธารณรัฐเกาหลี (เกาหลีใต้)องค์กรที่เป็นหัวหอกในการส่งเสริมการส่งออกสินค้าวัฒนธรรม คือ Korea Creative Content Agency (KOCCA) ซึ่งเป็นต้นแบบของ Thailand Creative Content Agency (THACCA) องค์กรคล้ายกันที่รัฐบาลพรรคเพื่อไทยกำลังพยายามจัดตั้งขึ้นKOCCA เริ่มต้นในปี 1978…