ย้อนมองการเปลี่ยนผ่านจาก “รถม้า” สู่ “แรงม้า”ถอดบทเรียนให้รู้ว่า “อย่าเพิ่งปากดี เพราะ EV มาแน่”
ช่วง2-3ปีมานี้ตลาดรถ EV เติบโตเร็วหลายเท่าตัว การเปลี่ยนผ่านสู่ยุคของ EV ในหลายประเทศเริ่มคึกคักขึ้นอย่างเห็นได้ชัด รวมถึงไทยเองด้วย และสำหรับบางประเทศอย่างนอร์เวย์ ก็นำโด่ง เพราะรถ EV กินส่วนแบ่งตลาดรถยนต์มากถึง…
ผ่ากระแสวีแกน – แพลนต์-เบสด์ จุดเริ่มต้นมาจากไหน? ตกลงควรกินไหม? กินแล้วทั้งเราและโลกได้ประโยชน์อะไร?
#Business of Science : เปลี่ยนงานวิจัยจากขึ้นหิ้งมาขึ้นห้าง ทุก ๆ ปีประเทศไทย (และประเทศในเอเชียหลาย ๆ ที่) จะมีเทศการ “กินเจ”…
“ความก้าวหน้าทางการศึกษายิ่งสูง อัตราการเกิดยิ่งต่ำ” แต่ประสิทธิภาพไม่ได้ชี้วัดเสมอไป
ณ ทศวรรษ 2020 โลกที่พ้นโควิดไปก็ยังพบ "ความท้าทายทางนโยบาย" อีกมากมายของภาครัฐ แน่นอนเรื่องหนึ่งที่ถูกมองว่าเป็นเรื่องใหญ่ก็คือเรื่องโลกร้อนทั้งหลาย แต่จริงๆ นั่นก็เป็นปัญหาที่เกิดจากการกดดันจากนานาชาติเป็นหลัก แต่ "ปัญหา" ที่เกิดในชาติส่วนใหญ่ในโลกที่แย่ลงทุกวันคือปัญหาสังคมผู้สูงอายุ…
การตลาดและสงคราม ทำให้ผู้หญิงเริ่มโกนขนรักแร้และหน้าแข้งได้อย่างไร?
โดยทั่วไปแล้วในโลกนี้ มนุษย์ไม่ได้รังเกียจขน ขนจึงเป็นเรื่องธรรมชาติของคนทั่วไป และคนที่มีหน้าที่จะต้องกำจัดขนนั้นคือคนที่มีสถานะพิเศษ เช่นในโรมันโบราณการ "ไร้ขน" เป็นเรื่องของชนชั้นสูงที่ผิวพรรณต้องเกลี้ยงเกลา หรือในวัฒนธรรมพุทธหรือคริสเตียนยุคกลาง การ "โกนหัว" ไม่ว่าจะทั้งหมดหรือบางส่วนมันก็เป็นเรื่องของนักบวช ไ่ม่ใช่คนปกติ…
Festive Season เมื่อวันสำคัญทางศาสนากลายมาเป็นเทศกาลขายสินค้ายาวเป็นเดือนได้อย่างไร?
6 Degrees of Separation ในช่วงปลายปีของทุกปี ชาวไทยอาจรู้สึกลุ้นว่าปีนี้อากาศหนาวมั้ย แต่สำหรับคนในโลกตะวันตก ช่วงนี้คือ Festive Season ซึงจริงๆ มันก็เป็นช่วงที่ภาคธุรกิจคึกคักมาก…
3 วิธีตั้งเป้าหมาย New Year Resolutions ที่ใช่ให้สำเร็จง่าย ๆ ด้วยหลักจิตวิทยา
ในช่วงส่งท้ายปีเก่าต้อนรับปีใหม่ นอกจากการแลกของขวัญและการเฉลิมฉลอง สิ่งที่นิยมทำกันทั่วโลกเลยคือ “การตั้งปนิธานปีใหม่” หรือ “New Year Resolutions” เพื่อการเปลี่ยนแปลง หรือทำสิ่งใหม่ ๆ ด้วยความตั้งใจเต็มเปี่ยม…
จากแผงลอยถึงถ้วยและกล่อง ความสร้างสรรค์ไม่รู้จบของราเมงญี่ปุ่น
#CreativeEcono.ME เพราะเศรษฐกิจ สร้าง “ฉัน” “ราเมง” เป็นอาหารญี่ปุ่นที่คนทั่วโลกรู้จักกันแพร่หลายไม่แพ้ซูชิหรือเทมปุระ ทั้งที่วัฒนธรรมบะหมี่แป้งสาลีนั้นถูกนำเข้าจากจีนไปแพร่หลายในญี่ปุ่นเพียงแค่ร้อยปีเศษๆ เท่านั้น ต้นรากของวัฒนธรรมราเมงญี่ปุ่นเท่าที่สืบค้น อาจจะเริ่มจากพระภิกษุชาวจีนที่เดินทางมาขึ้นท่าเรือที่เมืองโยโกฮาม่า แล้วแนะนำให้ลูกศิษย์ทำอาหารเส้นจากแป้งสาลีและน้ำแทนที่จะเป็นโซบะที่ทำจากเมล็ดโซบะ หรืออุด้งที่ทำจากแป้งสาลีกับน้ำเกลือ…
ข้อคิดธุรกิจ จาก ‘Wonka’เรื่องราวของชายผู้ให้กำเนิดโรงงานช็อกโกแลตมหัศจรรย์
‘Wonka’ คือ หนึ่งในขบวนภาพยนตร์ที่เรียงรายเข้าฉายในช่วงก่อนเทศกาลคริสต์มาสและสิ้นปี ซึ่งหลายคนเฝ้ารอชมลีลาการแสดงของ ‘ทิโมธี ชาลาเมต์ (Timothée Chalamet)’ ในบทบาทของ ‘วิลลี่ วองก้า (Willy…
เม็ดเงินในงบประมาณ Soft Power – เขาใช้กันเท่าไร
เมื่อเปิดงบประมาณส่งเสริม Soft Power ของรัฐบาลเศรษฐามาที่ 5164 ล้านบาท ก็มีเสียงวิพากษ์วิจารณ์หลากหลาย ว่าจะเป็นงบอีเวนท์ ตำน้ำพริกละลายแม่น้ำ งบส่วนนี้มากเกินไป งบส่วนนั้นน้อยเกินไป ซึ่งการทำงานยังต้องได้รับการพิสูจน์อีกในระยะยาว…
ปลายปีไม่ได้ขี้เกียจ คิดว่าเดือนธันวาคือเดือนที่คนขี้เกียจที่สุดใช่มั้ย? ยินดีด้วย คุณคิดผิด!!
#6 Degrees of Separation - เพราะความเป็นไปได้เชื่อมหากันไม่เกินหกทอด ในชีวิตการทำงาน ความขยันนั้นก็ขึ้นลงไปตามสภาพอากาศและเทศกาลวันหยุด ซึ่งถ้าคิดแบบนี้ เดือนธันวาคม ก็น่าจะเป็นเดือนที่คนขี้เกียจที่สุด เพราะเดือนนี้นอกจากอากาศจะ…